Parts of Speech
ส่วนต่างๆ ของคำ (Part of Speech)
ชนิดของคำจะแบ่งออกเป็น 8 ประเภท คือ
1. คำนาม (Noun) เป็นคำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สิ่งของ หรือสภาวะต่างๆ เพื่อใช้เป็นประธานหรือกรรมในประโยค
คน เช่น man , woman , boy , girl , etc...
สัตว์ เช่น dog , cat , bird , duck , etc...
สิ่งของ เช่น house , temple, school, table , book , etc...
สภาวะต่างๆ เช่น goodness, happiness, sadness, cheerfulness , etc...
2. สรรพนาม (Pronoun) เป็นคำที่ใช้แทนชื่อคำนามที่ผู้พูดเอ่ยถึงมาแล้วข้างต้นเพื่อมิให้เป็นการซ้ำซาก และเป็นคำแทนชื่อของผู้พูด และผู้สนทนาด้วย
เช่น ผม คุณ ท่านมัน เขา เธอ เป็นต้น ใช้เป็นประธานและกรรมในประโยค
He = เขา I = ฉัน, ผม They = พวกเขา
She = เธอ, หล่อน ัYou = คุณ, พวกคุณ
It = มัน (สิ่งของ), สัตว์ We = พวกผม, พวกเรา
3. คุณศัพท์/คุณนาม (Adjective) เป็นคำที่ใช้ขยายนาม และสรรพนาม ให้ได้ใจความที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
He has a blue car. : เขามีรถสีน้ำเงินหนึ่งคัน
The thin boy is coming. : เด็กผู้ชายผอมกำลังมา
4. กริยา (Verb) เป็นคำที่ใช้แสดงการกระทำของนาม หรือสรรพนาม เช่น
That boy smiles. : เด็กผู้ชายคนนั้นยิ้ม
5. บุพบท (Preposition) เป็นคำที่ใช้เชื่อมคำนามกับคำนาม , คำนามกับสรรพนาม หรือคำนามกับกริยา ฯลฯ
A cat is on the tree. : แมวตัวหนึ่งอยู่บนต้นไม้
He will go with me. : เขาจะไปกับฉัน
6. กริยาวิเศษณ์ (Adverb) เป็นคำที่ใช้สำหรับขยายกริยาให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
He walks very carefully. : เขาเดินอย่างระมัดระวัง
They work slowly. : พวกเขาทำงานช้า
7. คำสันธาน (Conjunction) เป็นคำที่ทำหน้าที่เชื่อมประโยคกับประโยค หรือ คำกับคำเข้าด้วยกัน เช่น
He and I are friends. : เขากับฉันเป็นเพื่อนกัน
He was eat , when I came here. : เขากินข้าวเสร็จแล้วเมื่อฉันมาถึง
8. คำอุทาน (Interjection) เป็นคำเปล่งเสียงออกมาลอยๆ เพื่อแสดงความรู้สึกต่างๆ เช่น ดีใจ เสียใจ ตกใจ
Oh! , Wow! , Yeah, etc...
Oh my god! I forgot it. : ตายจริง! (พระเจ้าช่วย!) ฉันลืมมันไปเลย
Op! I did it again. : อุ๊บ! ฉันทำมันอีกแล้ว
ตัวอย่าง รูปแบบประโยคและการแยกชนิดของคำ
เขาเป็นเด็กดี เพราะ เขาไปโรงเรียนทุกวัน
He is a good boy , because he goes to school everyday.
He = สรรพนาม goes = กริยา day = นาม
is = กริยา to = บุพบท
good = คุณศัพท์ school = นาม
because = สันธาน every = คุณศัพท์
1. คำนาม (Noun) เป็นคำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สิ่งของ หรือสภาวะต่างๆ เพื่อใช้เป็นประธานหรือกรรมในประโยค
คน เช่น man , woman , boy , girl , etc...
สัตว์ เช่น dog , cat , bird , duck , etc...
สิ่งของ เช่น house , temple, school, table , book , etc...
สภาวะต่างๆ เช่น goodness, happiness, sadness, cheerfulness , etc...
2. สรรพนาม (Pronoun) เป็นคำที่ใช้แทนชื่อคำนามที่ผู้พูดเอ่ยถึงมาแล้วข้างต้นเพื่อมิให้เป็นการซ้ำซาก และเป็นคำแทนชื่อของผู้พูด และผู้สนทนาด้วย
เช่น ผม คุณ ท่านมัน เขา เธอ เป็นต้น ใช้เป็นประธานและกรรมในประโยค
He = เขา I = ฉัน, ผม They = พวกเขา
She = เธอ, หล่อน ัYou = คุณ, พวกคุณ
It = มัน (สิ่งของ), สัตว์ We = พวกผม, พวกเรา
3. คุณศัพท์/คุณนาม (Adjective) เป็นคำที่ใช้ขยายนาม และสรรพนาม ให้ได้ใจความที่ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
He has a blue car. : เขามีรถสีน้ำเงินหนึ่งคัน
The thin boy is coming. : เด็กผู้ชายผอมกำลังมา
4. กริยา (Verb) เป็นคำที่ใช้แสดงการกระทำของนาม หรือสรรพนาม เช่น
That boy smiles. : เด็กผู้ชายคนนั้นยิ้ม
5. บุพบท (Preposition) เป็นคำที่ใช้เชื่อมคำนามกับคำนาม , คำนามกับสรรพนาม หรือคำนามกับกริยา ฯลฯ
A cat is on the tree. : แมวตัวหนึ่งอยู่บนต้นไม้
He will go with me. : เขาจะไปกับฉัน
6. กริยาวิเศษณ์ (Adverb) เป็นคำที่ใช้สำหรับขยายกริยาให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
He walks very carefully. : เขาเดินอย่างระมัดระวัง
They work slowly. : พวกเขาทำงานช้า
7. คำสันธาน (Conjunction) เป็นคำที่ทำหน้าที่เชื่อมประโยคกับประโยค หรือ คำกับคำเข้าด้วยกัน เช่น
He and I are friends. : เขากับฉันเป็นเพื่อนกัน
He was eat , when I came here. : เขากินข้าวเสร็จแล้วเมื่อฉันมาถึง
8. คำอุทาน (Interjection) เป็นคำเปล่งเสียงออกมาลอยๆ เพื่อแสดงความรู้สึกต่างๆ เช่น ดีใจ เสียใจ ตกใจ
Oh! , Wow! , Yeah, etc...
Oh my god! I forgot it. : ตายจริง! (พระเจ้าช่วย!) ฉันลืมมันไปเลย
Op! I did it again. : อุ๊บ! ฉันทำมันอีกแล้ว
ตัวอย่าง รูปแบบประโยคและการแยกชนิดของคำ
เขาเป็นเด็กดี เพราะ เขาไปโรงเรียนทุกวัน
He is a good boy , because he goes to school everyday.
He = สรรพนาม goes = กริยา day = นาม
is = กริยา to = บุพบท
good = คุณศัพท์ school = นาม
because = สันธาน every = คุณศัพท์
Credit : http://littleenglishkrupchiew.blogspot.com/2014/02/blog-post.html
เนื้อหาสาระดีมากๆค่ะ
ตอบลบดีมากๆครับ
ตอบลบ